เมนูทั้งหมด
เมนูทั้งหมด

ข้อกำหนดและเงื่อนไขการให้บริการ

  1. ผู้ลงผลงานอาจมีการนำเข้าหรือแชร์ลิงค์ออกไปยังเว็บไซต์อื่น หรือแพลตฟอร์มของบุคคลอื่น ในกรณีดังกล่าว หากเกิดปัญหาใดๆ หลังจากการแชร์ลิงค์ออกไปภายนอก จะไม่ถือเป็นความรับผิดชอบของทาง ‘คลังความรู้.com’ ทุกกรณี
  2. เมื่อสมัครสมาชิกเพื่อลงผลงาน หรือใช้บริการ ทางเราอาจขอข้อมูลบางประการจากผู้สมัครโดยผู้สมัครสามารถสร้างข้อมูลสมาชิกต่าง ๆ ได้เอง เช่น ชื่อ นามสกุล เพศ วัน/เดือน/ปี เกิด หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล ที่อยู่ หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภาพถ่ายที่ผู้ใช้งานอาจทำการอัพโหลดเข้ามาในระบบ ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลสมาชิกของที่ตนเองสร้างขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลเกี่ยวกับที่อยู่ รูปภาพหรือสถานที่ต่าง ๆ ท่านต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วนถึงความเสี่ยงในการแสดงข้อมูลนั้น ๆ
  3. หากผู้สมัครตัดสินใจเข้าใช้บริการ ‘คลังความรู้.com’ โดยผ่านบริการยืนยันตัวตนของผู้ให้บริการอื่น เช่น ผู้ให้บริการเฟสบุ๊คหรืออีเมล เป็นต้น ทางเราอาจได้รับข้อมูลประวัติหรือข้อมูลอื่นเพิ่มเติมตามที่ผู้ให้บริการรายดังกล่าวแสดงผลและกำหนดไว้
  4. ข้อมูลจากเว็บไซต์และอุปกรณ์เคลื่อนที่อาจมีการบันทึกข้อมูลบนเซิร์ฟเวอร์ของเรา เช่น ข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์หรือเว็บบราวเซอร์ของผู้สมัคร รวมถึงไอพีแอดเดรส โดยการดำเนินการดังกล่าวอาจเกิดขึ้นที่เว็บไซต์ ‘คลังความรู้.com’ หรือบนแพลตฟอร์มบุคคลภายนอกด้วย
  5. ‘คลังความรู้.com’ อาจใช้ข้อมูลที่เก็บรวบรวมและควบคุมไว้เพื่อวิเคราะห์ปรับปรุงบริการด้านต่าง ๆ เพื่อให้บริการได้ตรงกับความสนใจของผู้ใช้งาน ดังนั้นจึงอาจมีการติดต่อสมาชิกสำหรับการสื่อสารด้านการตลาดที่ได้รับอนุญาตผ่านช่องทางติดต่อสื่อสารใดๆ ที่ใช้การได้
  6. ข้อมูลที่ ‘คลังความรู้.com’ เก็บรวบรวมจะได้รับการปกป้องโดยขั้นตอนรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสมตามสมควร เพื่อป้องกันการเข้าถึงหรือใช้ข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงจำเป็นต้องปฏิบัติตามนโยบายที่ชี้แจงเป็นลายลักษณ์อักษรไว้อย่างเคร่งครัด โดยจะไม่กระทำการใดอันเป็นการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้ใช้งานอื่นหรือบุคคลภายนอก ทั้งนี้หาก ‘คลังความรู้.com’ พบการล่วงละเมิดดังกล่าว เราขอสงวนสิทธิในการยกเลิกและปิดกั้นการเข้าใช้ของผู้ใช้งานผู้กระทำการล่วงละเมิดนั้น

    กรณีที่ข้อมูลส่วนบุคคลและช่องทางติดต่อสื่อสารของผู้ใช้งานเสียหายหรือสูญหาย ไม่ว่าจะเกิดจากสาเหตุใด ซึ่งรวมถึง การจารกรรมด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (Hack) หรือวิธีการอื่น ‘คลังความรู้.com’ ขอสงวนสิทธิโดยไม่ต้องรับผิดต่อความเสียหายหรือสูญหายดังกล่าว หรือต่อความเสียหายสืบเนื่องใดๆ ทั้งสิ้น

  7. หลังจากซื้อผลงานชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ผลงานชิ้นนั้น ๆ จะถูกเก็บไว้ใน ‘คลัง’ ของผู้ใช้บริการเพื่อให้พร้อมเข้าอ่านได้ตลอดเวลา ผู้ใช้บริการจะสามารถเข้าอ่านได้ตลอดแม้ว่าผลงานชิ้นนั้นจะถูกลบออกจากหน้าเสนอขายไปแล้วก็ตาม
  8. ผู้ลงผลงานมีสิทธิในการอัพเดตและปรับเปลี่ยนเนื้อหาของผลงานที่ถูกซื้อไปแล้วได้ แต่ต้องผ่านการตรวจสอบจากระบบของเราก่อน
  9. ผู้ใช้บริการไม่มีสิทธินำผลงานที่ซื้อไว้ไปทำซ้ำ หรือเผยแพร่ต่อในทุกกรณี ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด
  10. ผู้ใช้บริการไม่สามารถขอคืนเงินได้ทุกกรณี หลังจากทำการซื้อไปแล้ว
cover
เทคนิคการสรุปรายงานการวิเคราะห์ข่าว
  • 0.0 (0)
  • |
  • ขายได้: 0
ปัจจุบันโลกของเราดูเหมือนจะหมุนเร็วขึ้น เมื่ออินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงพวกเราเข้าไว้ด้วยกัน ทำให้เกิดสังคมข่าวสาร (Social Media) สามารถเข้าถึงทุกคนได้ง่าย ซึ่งมันก็เป็นเรื่องที่ดี เว้นแต่จะแน่ใจได้อย่างไรว่าข้อมูลที่เราเห็นนั้น มันมีความน่าเชื่อถือหรือเราจะเข้าใจสถานการณ์จริงได้มากน้อยแค่ไหน นั่นจึงทำให้เราต้องมีกระบวรความคิดเข้ามาจัดการคือการ “วิเคราะห์” ข้อมูลเหล่านี้อย่างเป็นระบบ
การวิเคราะห์ข่าว News Analysis คือ การนำข้อเท็จจริงจากข้อมูลข่าวมาสรุปหาใจความสำคัญ เพื่อนำไปสู่การแก้ไข โดยการนำเสนอ หรือการใช้ความคิดใคร่ครวญ โดยแยกแยกเป็นส่วนๆ การวิเคราะห์ ยังเป็นการแยกแยกเนื้อหาของเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีระบบ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ที่มีลักษณะซับซ้อนให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้นในช่วงระยะเวลาอันสั้น ชี้ให้เห็นถึงเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดปัญหา ผลกระทบหรือการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้

หลักในการวิเคราะห์ข่าว
การวิเคราะห์ คือ การแยกแยะองค์ประกอบของเรื่องที่จะวิเคราะห์ อย่างเช่น ถ้าเราจะวิเคราะห์ข่าวสารก็ต้องทำการแยกแยะองค์ประกอบของข่าว โดยใช้หลักการที่เรียกว่า “5W 1H” ประกอบไปด้วย Who Where Why When What และ How หมายความว่า “ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เพื่ออะไร และ อย่างไร” โดยนอกจากนี้แล้วยังต้องอาศัยหลักการอื่นๆ เข้ามาเสริมเพิ่มเติม จึงจะวิเคราะห์ได้อย่างสมบูรณ์ เป็นหลักการสำคัญในการวิเคราะห์เรื่องต่างๆ หรือสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อความสมบูรณ์แบบของการวิเคราะห์ จะต้องมีหลักการดังต่อไปนี้
1. กรอบความคิด (Frame Work of Analysis) สร้างกรอบความคิดในเรื่องที่เราจะนำมาวิเคราะห์
2. หน่วยวิเคราะห์ (Analysis Unit) ทุกเรื่องควรจะต้องมีหน่วยย่อยเสมอ เมื่อพูดถึงเรื่องที่ใหญ่กว่า ย่อมจะต้องมีหน่วยที่เล็กกว่าเสมอ
3. มุมมอง (Perspective) เลือกใช้มุมมองต่างๆ มาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์สถานการณ์อย่างฉลาด
4. คุณค่า (Value) จงแยกให้ออกระหว่างความคิดเห็นส่วนตัว กับการวิเคราะห์อย่างมีหลักการ โดยอาศัยข้อเท็จจริงอ้างอิง มากกว่าที่จะนำความรู้สึกส่วนตัวมาใช้
5. ข้อสรุป (Conclusion) ทุกเรื่องย่อมมีบทสรุป โดยเฉพาะทุกการวิเคราะห์ การสรุปจะทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจสิ่งที่นำเสนอมาทั้งหมดดีมากขึ้น

บทการวิเคราะห์ในแต่ละรูปแบบ
1. รายงานแบบตรงไปตรงมา เป็นการรายงานข่าวตรงให้ข้อมูลพื้นฐานแก่ผู้อ่าน (ผู้ที่ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด ทำไม และอย่างไร) กับเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยทั่วไปแล้วจะใช้หลักโครงสร้างปิรามิดแบบกลับด้าน พร้อมกับข้อมูลที่แสดงตามลำดับความสำคัญ
2. รายงานโดยอาศัยเนื้อเรื่อง รายงานครอบคลุมหัวข้อหรือบุคคลในเชิงลึกมากกว่าข่าว นักวิเคราะห์มีอิสระที่จะคิดแลเขียนมากขึ้นในการใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง หรือการยกเอาเรื่องราววรรณกรรมมาอ้างอิง อาจมาพร้อมกับภาพถ่ายภาพประกอบ หรือกราฟิกชนิดอื่นๆ
3. รายงานโดยด้วยข้อคิดเห็น ซึ่งแตกต่างจากอีกสองประเภท เป็นการรายงานที่ให้นักเขียน สามารถแสดงความคิดท่าทางในประเด็นเฉพาะหรือการอภิปราย มักจะเขียนโดยคนที่อยู่นอกสนามวารสารศาสตร์ แต่ผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อ เช่น นักกฎหมายที่เขียนเกี่ยวกับการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม หรือ นักข่าวที่กำลังวิเคราะห์เรื่องเสรีภาพของสื่อในสังคมยุคปัจจุบัน

ลำดับเนื้อหาการนำเสนอ
1. สรุปเรื่องราวที่ปรากฏ/สิ่งบอกเหตุ (เมื่อไร, ใคร, ทำอะไร, ที่ไหน, อย่างไร,ทำไม)
2. ข้อพิจารณา (ข้อคิดเห็น)
- ลำดับความเป็นมา
- ข้อเท็จจริง (ความหมาย,ประเภท/ชนิด,ระเบียบข้อบังคับ,กฎเกณฑ์ที่กำหนด ฯลฯ ) ถ้ามี
- ข้อมูลฐานข่าวเดิม (เอกสารหลักฐานที่มีอยู่,การรายงานที่ผ่านมา ฯลฯ) ถ้ามี
- การเคลื่อนไหวที่สำคัญที่ผ่านมา
- ข้อมูลพื้นที่ ที่เกี่ยวข้อง
3. ท่าทีแนวโน้ม
- การคาดหมายว่าจะเกิดอะไรขึ้นในอนาคต ที่ไหน เมื่อไร ใครเป็นผู้กระทำ เพราะอะไร อย่างไร (จากเหตุผลในข้อพิจารณา)
4. ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ช่วยในการวางแผน และ กำกับดูแลการปฏิบัติการแก้ปัญหา

การพิจารณาความสำคัญของข่าวในการรายงาน
1.พิจารณาถึงความเกี่ยวข้องกับภารกิจของหน่วย
2.พิจารณาว่าเป็นการกระทำของต่างชาติหรือบุคคลภายใน มีผลกระทบต่อความมั่นคงของไทย ทั้งที่เป็นปัจจัยเสริม และ ปัจจัยอุปสรรค
3.พิจารณาถึงผลกระทบ (รุนแรง/ปานกลาง/เล็กน้อย)

การทำให้เอกสารรายงาน น่าสนใจ น่าอ่าน น่าเชื่อถือ
1. การเลือกเนื้อหานำในการเขียนรายงานให้เลือกเนื้อหาที่น่าสนใจ และ เพิ่งเกิดเหตุการณ์มาไม่นานเป็นบทนำ แล้วจึงเขียนความเป็นมาลึกลงถึงรายละเอียด โดยใช้คำว่า “ก่อนหน้านี้”
2. ข้อมูลเนื้อหา ต้อง กะทัดรัด ชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจง่าย ไม่เยิ่นเย้อ
3. ถ้ามีรายละเอียดประกอบมาก ให้จัดทำเป็น ผนวกหรือเอกสารที่ส่งมาด้วย
4. เนื้อหาตอนใดที่ไม่แน่ใจว่าจะเป็นจริง หรือ ถูกต้องหรือไม่ ให้ดึงมาเป็นข้อพิจารณาหรือข้อคิดเห็น
5. จำนวนตัวเลขใดถ้าไม่แน่ใจว่าถูกต้อง ให้เขียนว่าจำนวนมาก แล้วเอาตัวเลขที่กำหนดมาเป็นข้อพิจารณา หรือข้อคิดเห็น
6. การให้ข้อพิจารณาหรือข้อคิดเห็น ให้คำนึงถึงข้อพิจารณาหรือข้อคิดเห็นของผู้ให้ข่าวหรือผู้อยู่ในเหตุการณ์ด้วย
7. การให้ข้อพิจารณาหรือข้อคิดเห็น ต้องสัมพันธ์กับการตั้งหัวข้อข่าว (ใครกรรม ใครประธาน) และต้องทำข้อคิดเห็นจากเนื้อข่าวใหม่ไม่ใช่จากฐานข่าว และให้พิจารณาจากปัจจัยที่น่าจะเป็น (กลางวัน/ กลางคืน/พื้นที่/บุคคล)
8. ข้อพิจารณา และข้อสรุปท่าทีแนวโน้ม ต้องตรงกับเรื่อง ตรงเป้าหมาย พร้อมระบุ สถานที่และเวลา ของเหตุการณ์ที่จะเกิดในอนาคตอย่างชัดเจน
9. แผนที่, แผนผังบริเวณ, และภาพถ่าย จะเพิ่มความน่าเชื่อถือของข่าวมากขึ้น

--------------------------------
  • 0
  • 3 ปีที่ผ่านมา

รูปแบบ และแนวทางการลงผลงาน

รูปแบบการลงผลงาน

การลงผลงานให้อ่านใน ‘คลังความรู้.com’ จะแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบโดยผู้ลงผลงานสามารถเลือกได้เองอย่างอิสระ ดังนี้

รูปแบบที่ 1: เปิดให้บุคคลทั่วไปอ่านฟรี

ผู้ลงผลงานสามารถเปิดให้ผู้ที่ต้องการศึกษาเข้าอ่านได้ฟรี เพื่อเป็นการทดลองอ่านหรือโฆษณาผลงานชุดนั้นๆ โดยที่ผู้ใช้บริการไม่จำเป็นต้อง Login ก็สามารถเข้าอ่านได้ ขึ้นอยู่กับผู้ลงผลงานว่ามีความประสงค์ให้อ่านฟรีมากเท่าใด อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งชุด สิทธิ์ในการตัดสินใจเป็นของผู้ลงผลงานทั้งสิ้น อีกทั้งผู้ลงผลงานสามารถนำผลงานไปโปรโมท หรือเผยแพร่ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียอื่นๆ ได้อย่างไม่มีข้อจำกัด

รูปแบบที่ 2: เปิดให้สมาชิกเท่านั้นที่อ่านฟรีได้

ผู้ลงผลงานสามารถติดไอคอน ‘เหรียญเงิน’ ในผลงานที่ผู้ลงผลงานต้องการสงวนไว้ให้เฉพาะสมาชิกเท่านั้นที่อ่านได้ ไอคอนเหรียญเงินที่ว่านี้จะทำให้ผู้อ่านเห็นคุณค่าของผลงานของท่าน และเหรียญเงินแต่ละดอกจะมีผลต่อการจัดอันดับ Top 10 ผลงานในแต่ละหมวดหมู่อีกด้วย

รูปแบบที่ 3: เปิดให้ผู้สนับสนุนเท่านั้นที่อ่านได้

ในกรณีที่ผู้ลงผลงานต้องการสร้างรายได้จากผลงานของท่าน ท่านสามารถเลือกที่จะติด ‘เหรียญทอง’ ในผลงานของท่านได้ โดยที่เหรียญเหล่านี้ ผู้ใช้บริการที่ต้องการจะสนับสนุนจะใช้เงินซื้อมาเพื่อแลกกับการอ่านผลงานของท่าน (ตามราคาที่ผู้ลงผลงานตั้งไว้ในแต่ละคอนเทนต์)

รูปแบบที่ 4: เปิดกว้างให้ทั้งสมาชิกและผู้สนับสนุนอ่านได้ทั้งคู่

ผู้ลงผลงานสามารถเลือกติดเหรียญเงินและเหรียญไปพร้อม ๆ กันได้ นั่นหมายความว่า ท่านยินดีที่จะให้สมาชิกอ่านฟรีและเปิดกว้างสำหรับผู้ที่พร้อมจะสนับสนุนไปด้วย ซึ่งวิธีนี้ก็จะดีมากสำหรับการโฆษณางานของตัวผู้ลงผลงานเองให้เป็นที่รู้จัก ผลงานของคุณจะไม่พลาดการจัดอันดับ Top 10 จากเหรียญเงินอีกทั้งยังสามารถได้รับการสนับสนุนจากผู้ใช้บริการในรูปแบบของเหรียญทองอีกด้วย

แนวทางการลงผลงาน

ข้อห้ามเกี่ยวกับผลงานที่นำมาลง

** ‘คลังความรู้.com’ ขอสงวนสิทธิ์ในการปรับระดับการแสดงผลงาน หรือระงับการให้บริการผลงานแก่ผู้ลงผลงานที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนด โดยไม่มีการแจ้งหรือขออนุญาตล่วงหน้า
*** หากเกิดการฟ้องร้องใดๆ เกี่ยวกับผลงานของผู้ลงผลงาน ทาง ‘คลังความรู้.com’ จะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกกรณี เนื่องจาก ‘คลังความรู้.com’ เป็นพื้นที่ที่ใช้ลงผลงานเท่านั้น